คู่มือการให้บริการประชาชน

ประเภทของงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติพันธะสัญญาภายใต้กรอบ
1.การขอตรวจสอบ ประวัติสมัครงานหรือ เข้าศึกษาต่อ1.พบเจ้าหน้าที่ธุรการเพื่อพิมพ์ลายนิ้วมือและกรอกข้อความในเอกสาร
2.ส่งเรื่องไปตรวจสอบที่กองทะเบียนประวัติ อาชญากร
3.แจ้งผลการตรวจสอบประวัติ
ภายใน15วันประชาชนสามารถถือเอกสารไปตรวจสอบพร้อมขอรับผลที่กองทะเบียนประวัติอาชญากรด้วยตนเองได้ หรือส่งทางไปรษณีย์ด่วนก็ได้
2. การขออนุญาตเล่นงิ้ว1.พบเจ้าหน้าที่ธุรการเพื่อตรวจสอบ
หลักฐานเกี่ยวกับการแสดงงิ้ว
2.ส่งบทการแสดงไปตรวจสอบที่
สันติบาล
3.รับผลการตรวจบทแปลจาก
สันติบาล
4.แจ้งผลการพิจารณา
ภายใน15วัน
3.การขอต่ออายุใบสำคัญ ประจำตัวคน ต่างด้าว1.พบเจ้าหน้าที่ยื่นคำร้อง
2.ชำระเงินค่าธรรมเนียม
3.ลงรายการต่ออายุในใบสำคัญ
4.ออกใบเสร็จรับเงิน
5.นายทะเบียนลงนาม
ภายใน20นาที
4.แจ้งย้ายภูมิลำเนาคน ต่างด้าว ( ทั้งกรณีย้าย เข้าและย้ายออก )1.น าใบส าคัญคนต่างด้าวและส าเนาทะเบียน บ้านไปพบเจ้าหน้าที่ธุรการ2.เขียนค าร้อง3.เจ้าหน้าที่ธุรการลงนามรายงานใน ใบส าคัญ4.นายทะเบียนลงนาม5.กรณีย้ายเข้าให้ทาบันทึกขอรับเอกสารต้น เรื่องของคนต่างด้าวจากสถานีต ารวจเดิมภายใน20นาที
5.ขอปิดรูปถ่ายคนต่างด้าว เมื่อครบระยะ5ปี1.พบเจ้าหน้าที่ธุรการพร้อมภาพถ่ายขนาด2นิ้วจานวน4รูป
2.เขียนคาร้อง
3.เจ้าหน้าที่ประทับตรา
4.นายทะเบียนลงนาม
ภายใน20นาที
6.การแจ้งตายของคนต่างด้าว1.นำใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวและใบมรณะบัตรพบเจ้าหน้าที่ธุรการ
2.หมายเหตุในเอกสารต้นเรื่องในใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
3.นายทะเบียนลงนาม
4.ส่งเรื่องไปยังสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
ภายใน20นาทีหน่วยรับผิดชอบของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
7.การขอรับใบแทน ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวที่ชารุด หรือ สูญหาย1.นำหลักฐานใบแจ้งความสูญหายหรือชำรุด พร้อมภาพถ่ายและสำเนาทะเบียนบ้านพบ เจ้าหน้าที่ธุรการเพื่อยื่นคำร้องและชำระ ค่าธรรมเนียม
2.เจ้าหน้าที่ธุรการออกใบเสร็จตามระเบียบสอบปากคำตรวจเอกสารและออกเล่มใบสำคัญ
3.นายทะเบียนลงนาม
ภายใน1ชั่วโมง
8.ขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวใหม่ (ภายใน 7 วัน)1.พบเจ้าหน้าที่ธุรการพร้อมใบสาคัญถิ่นที่อยู่และหนังสือแจ้งนายทะเบียนท้องที่จากสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองแล้วยื่นคำร้องชำระค่าธรรมเนียม
2.ตรวจสอบหลักฐานและยืนยันความถูกต้องจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
3.ชำระค่าธรรมเนียมตามระเบียบ
4.เจ้าหน้าที่ออกเล่มใหม่ให้นายทะเบียนลงนาม
ภายใน2ชั่วโมงหน่วยรับผิดชอบของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
9.ขอรับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวใหม่(เกินกำหนด 7 วัน)1.พบเจ้าหน้าที่ธุรการพร้อมใบสำคัญฯ
2.ตรวจสอบหลักฐานและยืนยันความถูกต้องจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
3.ชำระค่าธรรมเนียมตามระเบียบ
4.เจ้าหน้าที่ออกเล่มใหม่
5.นายทะเบียนลงนาม
6.ส่งปลายขั้วไปสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
ภายใน2ชั่วโมงหน่วยรับผิดชอบของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง

ถ้าคนต่างด้าวเป็นผู้เยาว์ (อายุไม่เกิน 12ปี) ต้องเพิ่มขั้นตอนการพิมพ์ลายนิ้วมือและสอบปากคำผู้ปกครองพร้อมตรวจสอบหลักฐานยืนยันความถูกต้องจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองก่อน
10.การรับใบแทนใบสำคัญประจำตัวคน
ต่างด้าวที่ชำรุดหรือสูญหาย
1.นำหลักฐานใบแจ้งความสูญหาย หรือชำรุดพร้อมถ่ายภาพ และสำเนาทะเบียนบ้าน พบเจ้าหน้าที่ธุรการเพื่อยื่นคำร้องและชำระค่าธรรมเนียม ตามระเบียบ
2.เจ้าหน้าที่ธุรการออกใบเสร็จสอบปากคำตรวจสอบเอกสารและออกเล่มใบสำคัญ
3.นายทะเบียนลงนาม
ภายใน1ชั่วโมง
ประเภทของงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติพันธะสัญญาภายใต้กรอบ
1. การแจ้งเอกสารหาย1. พบเจ้าหน้าที่ประจำวันเขียนบันทึกประจำวันเอกสารหาย
2. พนักงานสอบสวนลงนามในบันทึกประจำวัน
3. เจ้าหน้าที่ประจำวันมอบสำเนาบันทึกประจำวันให้ผู้แจ้ง
ภายใน10นาทีนับแต่เวลาที่เจ้าหน้าที่รับเรื่อง
2. การเปรียบเทียบปรับตามใบสั่ง1. นำใบสั่งไปพบพนักงานสอบสวนเพื่อกำหนดอัตราเปรียบเทียบปรับ
2. ชำระค่าปรับที่เจ้าหน้าทีเปรียบเทียบปรับ รับใบเสร็จและใบอนุญาตขับขี่
ภายใน5นาทีนับแต่เวลาที่เจ้าหน้าที่รับเรื่อง
3.การขอสำเนาบันทึกประจำวันเกี่ยวกับคดี1. ยื่นคำร้องขอคัดสำเนาประจำวันต่อพนักงานสอบสวน
2. หัวหน้าพนักงานสอบสวนมีความเห็นอนุญาต
3. เจ้าหน้าที่ประจำวันนำสำเนาบันทึกประจำวันให้นายตำรวจสัญญาบัตรรับรองสำเนาถูกต้องมอบให้กับผู้รับแจ้ง
ภายใน20นาที
4.การแจ้งความร้องทุกข์1. ประชาชนผู้ยื่นคำขอ
2. พบพนักงานสอบสวนเพื่อสอบถามรายละเอียดข้อเท็จจริง/สอบปากคำ 40นาที
3. เจ้าหน้าที่เสมียนเวรประจำวันคดีลงบันทึก
ภายใน1ชั่วโมง
5.การแจ้งความเป็นหลักฐาน กรณีที่ไม่เกี่ยวกับคดี1. พนักงานสอบสวนซักถามรายละเอียดข้อเท็จจริง และตรวจสอบหลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้อง อธิบายข้อกฎหมาย
2. ลงบันทึกประจำวัน
ภายใน1ชั่วโมง
6.การขอประกันตัวผู้ต้องหา1. ผู้ต้องหาหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องนำหลักประกันยื่นคำร้องขอปล่อยชั่วคราวต่อพนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงานตำรวจ ภายใน 1ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ยื่นคำร้องต่อ พนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงานตำรวจ
2. พนักงานสอบสวนตรวจสอบหลักฐานถูกต้องครบถ้วน
3. บันทึกสัญญาประกัน และมีความเห็นควรหรือไม่ควรอนุญาตให้ประกัน
4. ผู้มีอำนาจสั่งอนุญาต หรือไม่อนุญาตให้ประกัน
5. ในกรณีที่อนุญาตให้ออกหลักฐานรับหลักประกันและสัญญาประกันคู่ฉบับ มอบให้นายประกัน
6. เจ้าหน้าที่เสมียนประจำวันทำการบันทึกประจำวันเพื่อปล่อยตัวหรือไม่ปล่อยตัว ผู้ต้องหา กรณีมีเหตุจำเป็นไม่อาจสั่งปล่อยชั่วคราวได้ให้พิจารณาให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ยื่นคำร้องขอปล่อยชั่วคราว
ภายใน2ชั่วโมง1.พนักงานสอบสวนได้ทำการสอบสวนพิมพ์ลายนิ้วมือ
2. หลักฐานเกี่ยวกับหลักประกันครบถ้วน
3. พนักงานสอบสวนเป็นผู้มีอำนาจวินิจฉัยคำร้องยกเว้นกรณีดังต่อไปนี้
3.1คดีความผิดเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
3.2คดีความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร
ประเภทของงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติพันธะสัญญาภายใต้กรอบ
1.ตรวจสอบประวัติและความประพฤติของบุคคลเกี่ยวกับการขอมีใช้พกพาอาวุธปืน-ตรวจสอบประวัติบุคคล
-สืบสวนพฤติกรรมบุคคล
-นำเสนอ บก.ท
ภายใน3วัน
2. ขอสัญชาติ-พบเจ้าหน้าที่
-สืบสวนพยานใกล้เคียง
-ตรวจสอบความประพฤติการกระทำความผิด
-รายงานผลกับสันติบาล
ภายใน15วัน
3.ตรวจสอบรับรองความประพฤติบุคคลพ้นโทษหรือนักโทษ1.พบเจ้าหน้าที่
2.เรียกบุคคลที่จะให้ที่พักมาสอบปากคำ
3.สอบปากคำเจ้าบ้าน
4.แจ้งหนังสือตอบกลับที่เรือนจำ
ภายใน7วัน
ประเภทของงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติพันธะสัญญาภายใต้กรอบ
1. การจัดกำลังตำรวจควบคุมและจัดการจราจรประจำทางแยกหรือจุดที่มีปัญหา การจราจร เช่น ทางแยกสำคัญ หน้าศูนย์การค้า หน้าสถานศึกษา ย่านชุมชน– มีการจัดเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรประจำแยกสำคัญและจุดสำคัญ เช่น หน้าศูนย์การค้า สถานศึกษา ย่านชุมชน
– ช่วงเวลาที่มีเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรอยู่
ประจำจุด
– กำลังประจำทางแยกสำคัญแยกละอย่างน้อย 2 นาย
– จุดสำคัญจุดละอย่างน้อย 2 นาย
– ช่วงเวลาที่เจ้าหน้าที่ตำรวจปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่ 05.30-20.00 น.
ประชาชนสามารถถือเอกสารไปตรวจสอบพร้อมขอรับผลที่กองทะเบียนประวัติอาชญากรด้วยตนเองได้ หรือส่งทางไปรษณีย์ด่วนก็ได้
2. จัดกำลังตำรวจไว้อำนวยความสะดวกด้านการจราจร1. จัดสายตรวจไว้อำนวยความสะดวกด้าน
การจราจร
2. กรณีได้รับแจ้งเหตุอุบัติ/รถเสีย/การขอความช่วยเหลือ
3. การแก้ไขปัญหาการจราจรกรณีเร่งด่วนเฉพาะหน้าที่ประชาชนร้องขอให้ดำเนินการ
และต้องปฏิบัติทันที
4.การจัดสายตรวจจราจรไว้อ านวยความสะดวกการจราจร
– ช่วงเวลาที่จัดสายตรวจตลอด 24 ชม. หรือช่วงเวลาใด
– สายตรวจจราจรเดินทางไปถึงที่เกิดเหตุ
ภายใน 5 นาท
ระยะเวลาในการเดินทางไปถึงที่
เกิดเหตุนับแต่ผู้แจ้งๆหรือโทรศัพท์
แจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรเดินทางไปพบผู้แจ้ง หรือถึงที่เกิดเหตุ
3. การอำนวยความ สะดวกด้านการเปรียบเทียบปรับจราจร1. เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรจับกุม ออกใบสั่งและ เรียบเก็บใบอนุญาตขับขี่แล้วนำใบอนุญาตขับขี่ที่เรียกเก็บส่งให้เจ้าหน้าที่เปรียบเทียบปรับ
2. ช่วงเวลาที่มีการจัดเจ้าหน้าที่ไว้ทำการเปรียบเทียบปรับคดีประจำสถานี
3. นำใบสั่งไปพบพนักงานสอบสวนเพื่อกำหนดอัตราค่าเปรียบเทียบปรับชำระค่าปรับและรับใบอนุญาตขับขี่คืน
– ภายใน 1 ชั่วโมง
– สามารถชำระค่าปรับได้ทุกวันตลอด 24ชม.ไม่เว้นวันหยุดราชการ
– สามารถชำระค่าปรับออนไลน์ผ่านมือถือแอฟพิเคชั่นของธนาคารกรุงไทยและธนาคารกรุงไทย
4. การขออำนวยความสะดวกด้าน
การจราจร ทั่วไป
1. พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อหรือยื่นหนังสือ
2. พิจารณาดำเนินการแจ้งผลให้ทราบ
3. พิจารณาเสนอหน่วยเหนือสั่งการแล้วแจ้งผล ให้ทราบ
– ภายใน 1 วันทำการ(กรณีสถานีตำรวจดำเนินการเองได้)
– ภายใน 2 วันทำการ(กรณีต้องประสานขอกำลังหรือประสานกับหน่วยงานอื่น)
5. การขออำนวยความสะดวกกรณี
ต้องขอใช้ พื้นผิวจราจร
1. พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อหรือยื่นหนังสือ
2. พิจารณาดำเนินการแจ้งผลให้ทราบ
3 . พิจารณาเสนอหน่วยเหนือสั่งการแล้วแจ้งผล ให้ทราบ
– ภายใน 1 วันทำการ(กรณีสถานีตำรวจดำเนินการเองได้)
– ภายใน 2 วันทำการ(กรณีต้องประสานขอกำลังหรือประสานกับหน่วยงานอื่น)
6. การขออำนวยความ สะดวกด้าน
การจราจร กรณีจะต้องออกคำสั่ง
หรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจราจร
1. พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อหรือยื่นหนังสือ
2 .หัวหน้าสถานีพิจารณามีความเห็นเสนอ
3. ส่งเรื่องไปยังกองบังคับการ และ
กองบัญชาการเพื่อพิจารณา
ภายใน 15 วันทำการ
ประเภทของงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติพันธะสัญญาภายใต้กรอบ
1.บริหารงานสายตรวจ-องค์ประกอบในการบริหารงานสายตรวจประกอบด้วย
-ห้องปฏิบัติการสายตรวจ
-ข้อมูลในการวางแผนป้องกันปราบปรามอาชญากรรม
-เครื่องมือสื่อสาร
-แผนเผชิญเหตุ
-แผนที่สถานภาพอาชญากรรม
-ตำรวจสายตรวจที่ผ่านการฝึกอบรมมาเป็นอย่างดี
-ความร่วมมือจากรประชาชนในการให้ข้อมูลข่าวสาร
-ผู้บังคับบัญชาอำนวยการในพื้นที
สถานีตำรวจต้องมีองค์ประกอบในการบริหารงานป้องกันปราบปรามอย่างครบถ้วน-ตามสถานภาพ ความพร้อมของแต่ ละสถานี
-ตามแนวทางการปฏิบัติงานที่ สำนักงานตำรวจ แห่งชาติกำหนด
2. ความพร้อมในการ ป้องกันปราบปราม-การแบ่งเขตตรวจ
-การจัดประเภทสายตรวจ
-การประกอบกำลังออกปฏิบัติงาน
สถานีตำรวจมีความพร้อมในการป้องกันปราบปรามและให้บริการประชาชนตลอด24ชั่วโมง-ขนาดของพื้นที่
-กำลังฝ่ายป้องกัน ปราบปรามของสถานี
-ความเหมาะสมต่อ สถานภาพอาชญากรรมในพื้นที่
3. การระงับเหตุ/ให้บริการ-เมื่อมีการแจ้งเหตุหรือขอรับบริการตำรวจ สายตรวจในพื้นที่ต้องรีบเดินทางไประงับเหตุ และให้บริการเจ้าหน้าที่ตำรวจไประงับเหตุภายในเวลาที่กำหนด-ในเขตเทศบาล ภายใน5นาที
-นอกเขตเทศบาล ภายใน10นาที
-พื้นที่ห่างไกล ภายใน20นาที
4. การควบคุมผู้ต้องหา-การควบคุมผู้ต้องหา/ผู้ต้องกักขังภายใน ห้องควบคุมของสถานีผู้ต้องหา/ผู้ต้องกักขัง จะได้รับการควบคุม อย่างปลอดภัย ในห้องควบคุมที่สะอาด เหมาะสม-สิทธิตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
5. การรับโทรศัพท์แจ้งเหตุ ของสถานีตำรวจ-ผู้แจ้งโทรศัพท์แจ้งเหตุมายังสถานีตำรวจ
-เจ้าหน้าที่รับโทรศัพท์รับข้อมูล
ภายใน20นาที
Message us